วันอาทิตย์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2552
วันอาทิตย์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2552
พรแห่งความสุข 4 ข้อ
การบรรยายธรรมะโดยท่าน ว.วชิรเมธี ท่านได้ให้พร 4 ข้อ ดังนี้
1. อย่าเป็นนักจับผิด
คนที่คอยจับผิดคนอื่น แสดงว่า หลงตัวเองว่าเป็นคนดีกว่าคนอื่น ไม่เห็นข้อบกพร่องของตนเอง 'กิเลสฟูท่วมหัว ยังไม่รู้จักตัวอีก' คนที่ชอบจับผิด จิตใจจะหม่นหมอง ไม่มีโอกาส 'จิตประภัสสร' ฉะนั้น จงมองคน มองโลกในแง่ดี ' แม้ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ถ้ามองเป็น ก็เป็นสุข '
2. อย่ามัวแต่คิดริษยา
'แข่งกันดี ไม่ดีสักคน ผลัดกันดี ได้ดีทุกคน'
คนเราต้องมี พรหมวิหาร 4 คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
คนที่เราริษยาเป็นการส่วนตัว มีชื่อว่า 'เจ้ากรรมนายเวร' ถ้าเขาสุข เราจะทุกข์ ฉะนั้น เราต้องถอดถอน
ความริษยาออกจากใจเรา เพราะไฟริษยา เป็น 'ไฟสุมขอน' (ไฟเย็น) เราริษยา 1 คน เราก็มีทุกข์ 1 ก้อน
เราสามารถถอดถอนความริษยาออกจากใจเราโดยใช้วิธี 'แผ่เมตตา' หรือ ซื้อโคมลอยมา แล้วเขียนชื่อคนที่เราริษยา แล้วปล ่อยให้ลอยไป
3. อย่าเสียเวลากับความหลัง
90% ของคนที่ทุกข์ เกิดจากการย้ำคิดย้ำทำ 'ปล่อยไม่ลง ปลงไม่เป็น'
มนุษย์ที่สลัดความหลังไม่ออก เหมือนมนุษย์ที่เดินขึ้นเขาพร้อมแบกเครื่องภาระต่างๆ ไว้ที่หลังขึ้นไปด้วย
ความทุกข์ที่เกิดขึ้นแล้ว จงปล่อยมันซะ ' อย่าปล่อยให้คมมีดแห่งอดีต มากรีดปัจจุบัน '
' อยู่กับปัจจุบันให้เป็น ' ให้กายอยู่กับจิต จิตอยู่กับกาย คือมี 'สติ' กำกับตลอดเวลา
4. อย่าพังเพราะไม่รู้จักพอ
'ตัณหา'ที่มีปัญหา คือ ความโลภ ความอยากที่เกินพอดี เหมือนทะเลไม่เคยอิ่มด้วยน้ำ ไฟไม่เคยอิ่มด้วยเชื้อ ธรรมชาติของตัณหา คือ 'ยิ่งเติมยิ่งไม่เต็ม'
ทุกอย่างต้องดู ' คุณค่าที่แท้จริง ' ไม่ใช่ คุณค่าเทียม เช่น
คุณค่าที่แท้ของนาฬิกาคืออะไร ? คือไว้ดูเวลาไม่ใช่ใส่เพื่อความโก้หรู
คุณค่าที่แท้ของโทรศัพท์มือถือคืออะไร ? คือไว้สื่อสาร แต่องค์ประกอบอื่นๆ ที่เสริมมาไม่ใช่คุณค่าที่แท้จริงของโทรศัพท์
เราต้องถามตัวเองว่า 'เิกิดมาทำไม' คุณค่าที่แท้จริงของการเกิดมาเป็นมนุษย์อยู่ตรงไหน ตามหา ' แก่น ' ของชีวิตให้เจอ
คำว่า 'พอดี' คือ ถ้า 'พอ' แล้วจะ 'ดี' รู้จัก 'พอ' จะมีชีวิตอย่างมีความสุข'
1. อย่าเป็นนักจับผิด
คนที่คอยจับผิดคนอื่น แสดงว่า หลงตัวเองว่าเป็นคนดีกว่าคนอื่น ไม่เห็นข้อบกพร่องของตนเอง 'กิเลสฟูท่วมหัว ยังไม่รู้จักตัวอีก' คนที่ชอบจับผิด จิตใจจะหม่นหมอง ไม่มีโอกาส 'จิตประภัสสร' ฉะนั้น จงมองคน มองโลกในแง่ดี ' แม้ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ถ้ามองเป็น ก็เป็นสุข '
2. อย่ามัวแต่คิดริษยา
'แข่งกันดี ไม่ดีสักคน ผลัดกันดี ได้ดีทุกคน'
คนเราต้องมี พรหมวิหาร 4 คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
คนที่เราริษยาเป็นการส่วนตัว มีชื่อว่า 'เจ้ากรรมนายเวร' ถ้าเขาสุข เราจะทุกข์ ฉะนั้น เราต้องถอดถอน
ความริษยาออกจากใจเรา เพราะไฟริษยา เป็น 'ไฟสุมขอน' (ไฟเย็น) เราริษยา 1 คน เราก็มีทุกข์ 1 ก้อน
เราสามารถถอดถอนความริษยาออกจากใจเราโดยใช้วิธี 'แผ่เมตตา' หรือ ซื้อโคมลอยมา แล้วเขียนชื่อคนที่เราริษยา แล้วปล ่อยให้ลอยไป
3. อย่าเสียเวลากับความหลัง
90% ของคนที่ทุกข์ เกิดจากการย้ำคิดย้ำทำ 'ปล่อยไม่ลง ปลงไม่เป็น'
มนุษย์ที่สลัดความหลังไม่ออก เหมือนมนุษย์ที่เดินขึ้นเขาพร้อมแบกเครื่องภาระต่างๆ ไว้ที่หลังขึ้นไปด้วย
ความทุกข์ที่เกิดขึ้นแล้ว จงปล่อยมันซะ ' อย่าปล่อยให้คมมีดแห่งอดีต มากรีดปัจจุบัน '
' อยู่กับปัจจุบันให้เป็น ' ให้กายอยู่กับจิต จิตอยู่กับกาย คือมี 'สติ' กำกับตลอดเวลา
4. อย่าพังเพราะไม่รู้จักพอ
'ตัณหา'ที่มีปัญหา คือ ความโลภ ความอยากที่เกินพอดี เหมือนทะเลไม่เคยอิ่มด้วยน้ำ ไฟไม่เคยอิ่มด้วยเชื้อ ธรรมชาติของตัณหา คือ 'ยิ่งเติมยิ่งไม่เต็ม'
ทุกอย่างต้องดู ' คุณค่าที่แท้จริง ' ไม่ใช่ คุณค่าเทียม เช่น
คุณค่าที่แท้ของนาฬิกาคืออะไร ? คือไว้ดูเวลาไม่ใช่ใส่เพื่อความโก้หรู
คุณค่าที่แท้ของโทรศัพท์มือถือคืออะไร ? คือไว้สื่อสาร แต่องค์ประกอบอื่นๆ ที่เสริมมาไม่ใช่คุณค่าที่แท้จริงของโทรศัพท์
เราต้องถามตัวเองว่า 'เิกิดมาทำไม' คุณค่าที่แท้จริงของการเกิดมาเป็นมนุษย์อยู่ตรงไหน ตามหา ' แก่น ' ของชีวิตให้เจอ
คำว่า 'พอดี' คือ ถ้า 'พอ' แล้วจะ 'ดี' รู้จัก 'พอ' จะมีชีวิตอย่างมีความสุข'
วันจันทร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2552
สามิสสุข vs นิรามิสสุข
“สามิสสุข” คือความสุขที่อิงอามิส กล่าวคือความสุขที่อาศัยกามคุณ ได้แก่ ความสุขที่พระท่านเรียก “สุขเวทนา” อันเกิดแต่การได้พบเห็น ได้ยินได้ฟัง ได้กลิ่น ได้รส และได้สัมผัส รูป– เสียง– กลิ่น– รส และสิ่งสัมผัสทางกายที่น่าเพลิดเพลิน น่ากำหนัดยินดี พอใจ ในขณะเดียวกันสุขเวทนาที่อิงอามิสนั้นแหละ ย่อมเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดกิเลส ตัณหา อุปาทาน อันเป็นเหตุนำเหตุหนุนให้ไม่สำรวมกาย วาจา ใจ และประกอบกรรมชั่วหรือบาปอกุศล ให้เกิดความทุกข์เดือดร้อนได้อีก จึงเป็นความสุขที่ไม่เที่ยงแท้ถาวร เพราะเป็นความสุขที่ยังมีโอกาสกลับเป็นทุกข์ได้อีก
ส่วน “นิรามิสสุข” เป็นความสุขที่ไม่อิงอามิส คือเป็นความสุขที่ไม่ต้องอาศัยกามคุณ แต่อาศัยเนกขัมม์ คือการปลีกออกจากกามคุณ หรือเป็นอิสระจากกามคุณ จึงไม่มีเหตุปัจจัยให้เกิดกิเลส ตัณหา อุปาทาน ที่จะเป็นเหตุนำเหตุหนุนให้กระทำกรรมชั่วหรือบาปอกุศล ให้เกิดความทุกข์เดือดร้อนได้อีก ความสุขอันเกิดแต่ความสงบจากกรรมชั่ว และ/หรือ อัน สงัดจากกิเลส ตัณหา อุปาทาน เช่นนี้ ย่อมเป็นความสุขที่เที่ยงแท้ถาวร คือเป็นความสุขที่ไม่มีเหตุปัจจัยให้กลับเป็นทุกข์ได้อีก
ส่วน “นิรามิสสุข” เป็นความสุขที่ไม่อิงอามิส คือเป็นความสุขที่ไม่ต้องอาศัยกามคุณ แต่อาศัยเนกขัมม์ คือการปลีกออกจากกามคุณ หรือเป็นอิสระจากกามคุณ จึงไม่มีเหตุปัจจัยให้เกิดกิเลส ตัณหา อุปาทาน ที่จะเป็นเหตุนำเหตุหนุนให้กระทำกรรมชั่วหรือบาปอกุศล ให้เกิดความทุกข์เดือดร้อนได้อีก ความสุขอันเกิดแต่ความสงบจากกรรมชั่ว และ/หรือ อัน สงัดจากกิเลส ตัณหา อุปาทาน เช่นนี้ ย่อมเป็นความสุขที่เที่ยงแท้ถาวร คือเป็นความสุขที่ไม่มีเหตุปัจจัยให้กลับเป็นทุกข์ได้อีก
ความว่างที่สร้างความสุข
นักปราชญ์ชาวเอเชียกลางคนหนึ่งเล่าว่า มีชายหนุ่มอยู่คนหนึ่ง แกเป็นคนอัตคัตความสุข พยายามแสวงหาความสุขจากวิธีการต่างๆ แต่แล้วก็ยังรู้สึกว่า ไม่ใช่ความสุขแท้ที่ตัวเองต้องการ
อยู่มาวันหนึ่ง มีผู้แนะนำว่า ถ้าอยากมีความสุขก็ควรจะมีบ้านเป็นของตัวเอง เพราะในบ้านของเรานั้น เราสามารถเป็นเจ้าของทุกอย่างในบ้านโดยที่ไม่ต้องมีใครมาคอยกวนใจ ซ้ำยังมีอิสระที่จะเสกสรรค์ปั้นแต่งหรือจัดบ้านให้เป็นไปตามความต้องการของตนเองอย่างไรก็ได้
เขาเชื่อตามที่มีผู้แนะนำ จึงตัดสินใจสร้างบ้านขึ้นมาหลัง หนึ่ง เมื่อแรกสร้างบ้านนั้น บ้านของเขาหลังใหญ่ทีเดียว พอมีบ้านแล้ว เขามีความสุขมาก เขาเริ่มจัดบ้านตามต้องการ และเริ่มหาข้าวของต่างๆ มากมาย มากองไว้ในบ้านทีละอย่างสองอย่าง จนกระทั่งวันหนึ่ง ห้องว่างๆ ในบ้านของเขาก็หายไป ทุกพื้นที่ในบ้านเต็มไปด้วยข้าวของระเกะระกะ มองไปทางไหนก็รกหูรกตา
ทีนี้ชายหนุ่ม เริ่มรู้สึกว่าบ้านของตนเองช่างเป็นสถานที่ที่ไม่น่าอยู่ อากาศก็อุดอู้ เขาเริ่มบ่นกับตัวเองว่าคิดผิดถนัดที่สร้างบ้านขึ้นมา เพราะนึกว่าบ้านจะให้ความสุขได้นานๆ บางวันเขาก็ครุ่นคำนึงว่า น่าจะสร้างบ้านให้หลังใหญ่กว่านี้ จะได้บรรจุอะไรต่อมิอะไรได้เยอะๆ ตามต้องการ
ขณะที่เขาเริ่มไม่มีความสุขเพราะบ้านกลายเป็นโกดังเก็บของนั้นเอง ก็มีนักปราชญ์คนหนึ่งผ่านมาแถวนั้น เขาบ่นดังๆ จนปราชญ์คนนั้นได้ยิน นักปราชญ์หนุ่มจึงแนะนำว่า ถ้าเขาอยากให้บ้านเป็นสถานที่แห่งความสุข ก็ไม่เห็นจะยากอะไร เพียงแต่ขนข้าวของทั้งหมดออกมาวางข้างนอกบ้านเสียก็หมดเรื่อง
ชายหนุ่มได้ยินเช่นนั้น รีบทำตามทันที เขาเริ่มขนข้าวของซึ่งโดยมากล้วนเป็นสิ่งซึ่งไม่จำเป็น หากแต่เขาเก็บเอาไว้เพราะความละโมภมากกว่าออกมาทิ้งนอกบ้าน ขนอยู่สองวัน จนบ้านว่าง โล่ง และดูกว้างขึ้นมาผิดหูผิดตา คราวนี้เขามีความสุขมาก รำพึงกับตัวเองว่า แหม บ้านของฉันช่างกว้างขวาง และน่าอยู่เสียนี่กระไร นักปราชญ์ได้ยินแล้วก็ได้แต่อมยิ้ม ก่อนจะเปรยขึ้นมาว่า บ้านของเจ้าน่ะ มันกว้างขวาง ว่าง โล่ง และน่าอยู่มาตั้งแต่ต้นอยู่แล้ว เจ้าของหากล่ะที่ทำให้มันไม่น่าอยู่ ด้วยการบรรจุอะไรๆ ที่เกินจำเป็นใส่เข้าไปจนบ้านกลายสภาพเป็นกองขยะดีๆ นี่เอง
ใช่หรือไม่ว่า คนส่วนใหญ่ที่กำลังกวาดตามองหาความสุขและพยายามที่จะเติมสิ่งนั้นสิ่งนี้เข้าไปในชีวิต แต่แล้วก็ยังคงรู้สึก “พร่อง” หรือหมักหมมไปด้วยความทุกข์อยู่เหมือนเดิม ไม่แตกต่างอะไรกับชายเจ้าของบ้านในนิทานปรัชญาเรื่องนี้
การจัดการชีวิตให้มีความสุขนั้น ทางที่ถูก อาจไม่ใช่การใส่อะไรลงไปในชีวิต แต่แท้ที่จริงแล้ว คือการถ่ายเท ปล่อยวาง หรือระบายบางสิ่งบางอย่างออกจากชีวิตมากกว่า
ในพุทธศาสนานั้น เราถือกันว่า ความสุขอาจเกิดจากความมี (สามิสสุข) ก็ได้ แต่ที่เหนือกว่านั้น ความสุขอาจเกิดจากความเป็นอิสระจากความมีก็ได้ด้วย (นิรามิสสุข)
บ้านแห่งชีวิตของเรา เมื่อแรกสร้างก็ดูโปร่ง โล่ง เป็นระเบียบเรียบร้อย สบายหูสบายตา แต่เมื่ออยู่กันไป อะไรๆ ก็ชักจะเพิ่มขึ้น และบางทีเพิ่มมากมายจนกลายเป็นปัญหาอันบั่นทอดต่อความสุขในชีวิตคู่
จะดีกว่าไหม หากมีเวลาว่าง คนรักกัน น่าจะลองหาวิธีทำพื้นที่หัวใจให้ว่างด้วยการถอดถอนบางอย่างทิ้งออกไป
ขอเพียงเรียนรู้ที่จะลดบางอย่างลงไป ความสุขในหัวใจก็คงจะเพิ่มขึ้น
ความสุข บางครั้งอาจไม่ได้ผูกพันอยู่กับความมี
แต่บางที อาจมาจากความว่าง
ว.วชิรเมธี
อยู่มาวันหนึ่ง มีผู้แนะนำว่า ถ้าอยากมีความสุขก็ควรจะมีบ้านเป็นของตัวเอง เพราะในบ้านของเรานั้น เราสามารถเป็นเจ้าของทุกอย่างในบ้านโดยที่ไม่ต้องมีใครมาคอยกวนใจ ซ้ำยังมีอิสระที่จะเสกสรรค์ปั้นแต่งหรือจัดบ้านให้เป็นไปตามความต้องการของตนเองอย่างไรก็ได้
เขาเชื่อตามที่มีผู้แนะนำ จึงตัดสินใจสร้างบ้านขึ้นมาหลัง หนึ่ง เมื่อแรกสร้างบ้านนั้น บ้านของเขาหลังใหญ่ทีเดียว พอมีบ้านแล้ว เขามีความสุขมาก เขาเริ่มจัดบ้านตามต้องการ และเริ่มหาข้าวของต่างๆ มากมาย มากองไว้ในบ้านทีละอย่างสองอย่าง จนกระทั่งวันหนึ่ง ห้องว่างๆ ในบ้านของเขาก็หายไป ทุกพื้นที่ในบ้านเต็มไปด้วยข้าวของระเกะระกะ มองไปทางไหนก็รกหูรกตา
ทีนี้ชายหนุ่ม เริ่มรู้สึกว่าบ้านของตนเองช่างเป็นสถานที่ที่ไม่น่าอยู่ อากาศก็อุดอู้ เขาเริ่มบ่นกับตัวเองว่าคิดผิดถนัดที่สร้างบ้านขึ้นมา เพราะนึกว่าบ้านจะให้ความสุขได้นานๆ บางวันเขาก็ครุ่นคำนึงว่า น่าจะสร้างบ้านให้หลังใหญ่กว่านี้ จะได้บรรจุอะไรต่อมิอะไรได้เยอะๆ ตามต้องการ
ขณะที่เขาเริ่มไม่มีความสุขเพราะบ้านกลายเป็นโกดังเก็บของนั้นเอง ก็มีนักปราชญ์คนหนึ่งผ่านมาแถวนั้น เขาบ่นดังๆ จนปราชญ์คนนั้นได้ยิน นักปราชญ์หนุ่มจึงแนะนำว่า ถ้าเขาอยากให้บ้านเป็นสถานที่แห่งความสุข ก็ไม่เห็นจะยากอะไร เพียงแต่ขนข้าวของทั้งหมดออกมาวางข้างนอกบ้านเสียก็หมดเรื่อง
ชายหนุ่มได้ยินเช่นนั้น รีบทำตามทันที เขาเริ่มขนข้าวของซึ่งโดยมากล้วนเป็นสิ่งซึ่งไม่จำเป็น หากแต่เขาเก็บเอาไว้เพราะความละโมภมากกว่าออกมาทิ้งนอกบ้าน ขนอยู่สองวัน จนบ้านว่าง โล่ง และดูกว้างขึ้นมาผิดหูผิดตา คราวนี้เขามีความสุขมาก รำพึงกับตัวเองว่า แหม บ้านของฉันช่างกว้างขวาง และน่าอยู่เสียนี่กระไร นักปราชญ์ได้ยินแล้วก็ได้แต่อมยิ้ม ก่อนจะเปรยขึ้นมาว่า บ้านของเจ้าน่ะ มันกว้างขวาง ว่าง โล่ง และน่าอยู่มาตั้งแต่ต้นอยู่แล้ว เจ้าของหากล่ะที่ทำให้มันไม่น่าอยู่ ด้วยการบรรจุอะไรๆ ที่เกินจำเป็นใส่เข้าไปจนบ้านกลายสภาพเป็นกองขยะดีๆ นี่เอง
ใช่หรือไม่ว่า คนส่วนใหญ่ที่กำลังกวาดตามองหาความสุขและพยายามที่จะเติมสิ่งนั้นสิ่งนี้เข้าไปในชีวิต แต่แล้วก็ยังคงรู้สึก “พร่อง” หรือหมักหมมไปด้วยความทุกข์อยู่เหมือนเดิม ไม่แตกต่างอะไรกับชายเจ้าของบ้านในนิทานปรัชญาเรื่องนี้
การจัดการชีวิตให้มีความสุขนั้น ทางที่ถูก อาจไม่ใช่การใส่อะไรลงไปในชีวิต แต่แท้ที่จริงแล้ว คือการถ่ายเท ปล่อยวาง หรือระบายบางสิ่งบางอย่างออกจากชีวิตมากกว่า
ในพุทธศาสนานั้น เราถือกันว่า ความสุขอาจเกิดจากความมี (สามิสสุข) ก็ได้ แต่ที่เหนือกว่านั้น ความสุขอาจเกิดจากความเป็นอิสระจากความมีก็ได้ด้วย (นิรามิสสุข)
บ้านแห่งชีวิตของเรา เมื่อแรกสร้างก็ดูโปร่ง โล่ง เป็นระเบียบเรียบร้อย สบายหูสบายตา แต่เมื่ออยู่กันไป อะไรๆ ก็ชักจะเพิ่มขึ้น และบางทีเพิ่มมากมายจนกลายเป็นปัญหาอันบั่นทอดต่อความสุขในชีวิตคู่
จะดีกว่าไหม หากมีเวลาว่าง คนรักกัน น่าจะลองหาวิธีทำพื้นที่หัวใจให้ว่างด้วยการถอดถอนบางอย่างทิ้งออกไป
ขอเพียงเรียนรู้ที่จะลดบางอย่างลงไป ความสุขในหัวใจก็คงจะเพิ่มขึ้น
ความสุข บางครั้งอาจไม่ได้ผูกพันอยู่กับความมี
แต่บางที อาจมาจากความว่าง
ว.วชิรเมธี
วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2552
Happiness VS Unhappiness
ความสุขแท้-เทียม ทุกข์แท้-เทียม
ความสุขไม่มีนิยามความหมายที่จับตั้งได้อย่างแท้จริง เนื่องจากความสุขและความทุกข์เป็นเพียงสภาพหรือสภาวะหนึ่งๆ ในทุกๆ ขณะจิตเท่านั้น การบรรยายถึงความสุขจึงอาจจะแสดงเป็นข่วงยามหนึ่งๆ หรือไม่ก็เป็นการสรุปความสุขที่ผ่านมาในช่วงเวลาสั้นๆ หรืออาจจะเป็นความสุขที่สรุปจากภาพโดยรวมของชีวิตที่ผ่านมา ขึ้นอยู่กับว่าต้องการแสดงระดับความสุขในสถานการณ์ใด
“ความสุขความทุกข์เปลี่ยนแปลงทุกปี ทุกเดือน ทุกวัน ทุกชั่วโมง ทุกนาที และทุกวินาที แม้กระทั้งทุกขณะจิตที่จิตคนเราจะแบ่งได้...”
ภาพโดยรวมของมนุษย์แต่ละบุคคลเป็นความสุขสถานใด อยู่ในระดับใด และกำลังขยับไปในทางที่ทุกข์มากกว่าเดิม หรือสุขมากขึ้น และมากไปกว่านั้น นั่นเรากำลังเดินไปในทางสุขแท้ หรือเทียม หรือกำลังจมลงไปสู่ความทุกข์พื้นๆ ทางโลกหรือกำลังดำดิ่งลงไปสู่สภาพทุกข์แท้ที่หนักหนาสาหัส จนสภาวะจิตสามารถถูกทำลายได้อย่างสิ้นเชิง
มีผู้ที่พยายามสร้างสมการความสุขขึ้นมาเพื่อใช้อธิบายความสุขระดับบุคคล (Cohen 2003) และมีผู้ที่พยายามขีดสเกลของความสุขทุกข์ขึ้นมาเช่นกัน (http://feedproxy.google.com/~r/Spreadinghappinessorg/~3/EhI9ywNBWIM/) อย่างเช่น uneven happiness scale ได้กล่าวว่าความสุขที่เกิดขึ้นสามารถชดเชยความทุกข์ที่เกิดขึ้นได้ 5 เท่า เป็นต้น
สุขเทียม - ทุกข์เทียม
ความสุขทุกข์แบบโลกๆ นั้นมักจะวัดกันด้วยวัตถุ การได้มาเสียไปของวัตถุ ลาภ ยศ สรรเสริญ ทรัพย์สินเงินทอง อำนาจวาสนา ทำให้เกิดความทุกข์ ความสุขขึ้นตลอดเวลา เช่น วันเงินเดือนออก ปลายปีที่ได้โบนัส การได้เลื่อนตำแหน่ง การได้รับอำนาจ และการได้ครอบครองสิ่งที่พึงประสงค์ เป็นความสุขที่เกิดขึ้นจริง แต่เป็นความสุขที่หล่อเลี้ยงด้วยกิเลส เมื่อได้มาก็มีความสุข เมื่อเสียไปก็จะทุกข์ วนเวียนไปมาอยู่อย่างนั้น ผู้ที่ถูกหล่อเลี้ยงด้วยกิเลสมากๆ นานวันเข้าก็จะเกิดความรู้สึกติดยึดกับวัตถุเหล่านั้น และมีอำนาจเพียงพอที่จะดึงดิ่งลงไปสู่สภาวะทุกข์ที่จริงได้
“เป็นความสุข ทุกข์ที่เกิดจาก ความมั่นคงจากภายนอก”
สุขแท้ - ทุกข์แท้
อีกหนึ่งไม้บรรทัดที่แสดงสเกลความสุขทุกข์ ซึ่งอาจเรียกว่า ความสุขทางธรรม คือความสุขที่อยู่ในสภาวะที่เข้าใจในวัตถุทางโลก การสนองความต้องการพื้นฐานด้วยความพอดี ไม่ถูกหล่อเลี้ยงด้วยกิเลส ความสุข ทุกข์ลักษณะนี้เป็นเรื่องของการยอมรับ เข้าใจ และควบคุมสภาพจิตของตนเองไม่ให้ซัดส่ายไปในทางที่หล่อเลี้ยงด้วยกิเลส เช่น เมื่อเกิดความอยากได้อยากมีก็สามารถควบคุมความอยากได้อยากมีนั้นไว้ได้โดยไม่กระทบถึงสภาวะจิตใจ ทุกข์แท้มักจะเป็นปลายทางของผู้ที่เกิดความทุกข์ทางวัตถุที่ไม่เหลือหนทางเดินต่อ สภาพจิตตกต่ำถึงที่สุด แต่ก็สามารถหมุนเปลี่ยนเป็นสุขแท้ได้โดยการยั้งคิด พลันคิดได้ในสิ่งที่เป็นไปในวัตถุทางโลก และยังสามารถเกิดกับผู้ที่มีความสุขทางวัตถุที่สุดเมื่อคนเหล่านั้นมีความต้องการที่ไม่สิ้นสุด และสามารถหมุนไปสู่ความสุขแท้ได้ เมื่อคนผู้นั้นสร้างความเข้าใจในความไม่เที่ยงแท้ของวัตถุ
“เป็นความสุข ทุกข์ที่เกิดจาก ความมั่นคงจากภายใน”
วันพฤหัสบดีที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2552
The formula for happiness
Two people who obviously meet the equation
Scientists say they have solved one of the greatest mysteries plaguing mankind - just what is the secret of happiness?
The answer, apparently, is nothing as simple as true love, lots of money, or an exciting job. Instead, it can be neatly summarised in the following equation:
Happiness = P + (5xE) + (3xH)
Just to explain, P stands for Personal Characteristics, including outlook on life, adaptability and resilience.
E stands for Existence and relates to health, financial stability and friendships.
And H represents Higher Order needs, and covers self-esteem, expectations, ambitions and sense of humour.
Sound complicated? Actually, it isn't as difficult as it may seem.
Apparently the formula was worked out by psychologists after interviews with more than 1,000 people.
Life coach Pete Cohen, who co-wrote the study, admitted that the equation was not easy for most people to understand.
But he said it was based on a series of simple questions (see box).
Questions on which the equation is based
1. Are you outgoing, energetic, flexible and open to change?
2. Do you have a positive outlook, bounce back quickly from setbacks and feel that you are in control of your life?
3. Are your basic life needs met, in relation to personal health, finance, safety, freedom of choice and sense of community?
4. Can you call on the support of people close to you, immerse yourself in what you are doing, meet your expectations and engage in activities that give you a sense of purpose?
See below to work out your score
Working out the answer
The questions should be answered on a scale of one to ten, where one is "not at all" and ten is "to a large extent"
Add the scores for question one and two together to find your P value.
The score for question 3 is the value for E, and question 4 for H
Mr Cohen said the British were expert at making themselves unhappy by focusing on negative things.
Rating
Each person who completes the questions ends up with a rating out of 100. The higher the score, the more happy they are.
"Most people probably don't know what happiness is, they think happiness is perhaps having lots of money or a big car, or a big house.
"But people who have all these things are not necessarily happier than people who just enjoy their life."
"We tend to be very obsessed with what is wrong, what is missing and what we have not got, rather than focusing on what we want and getting it.
"It would be nice to just enjoy your life, because life is a bit short."
The researchers found that different factors were important for the different sexes.
Pete Cohen came up with the equation
Four in ten men said sex made them happy, and three in ten said a victory by a favourite sports team.
For seven in ten women happiness was related to being with family, and one in four said losing weight.
Romance featured higher for men than women. So did a pay rise and a hobby they enjoyed.
Women were more likely to cite sunny weather.
Ingrid Collins, a consultant psychologist at the London Medical Centre, told BBC News Online: "I would be very surprised if people sat down and had to work out whether they were happy or not.
"We can all be happy in a heartbeat if we make the decision to be so."
Scientists say they have solved one of the greatest mysteries plaguing mankind - just what is the secret of happiness?
The answer, apparently, is nothing as simple as true love, lots of money, or an exciting job. Instead, it can be neatly summarised in the following equation:
Happiness = P + (5xE) + (3xH)
Just to explain, P stands for Personal Characteristics, including outlook on life, adaptability and resilience.
E stands for Existence and relates to health, financial stability and friendships.
And H represents Higher Order needs, and covers self-esteem, expectations, ambitions and sense of humour.
Sound complicated? Actually, it isn't as difficult as it may seem.
Apparently the formula was worked out by psychologists after interviews with more than 1,000 people.
Life coach Pete Cohen, who co-wrote the study, admitted that the equation was not easy for most people to understand.
But he said it was based on a series of simple questions (see box).
Questions on which the equation is based
1. Are you outgoing, energetic, flexible and open to change?
2. Do you have a positive outlook, bounce back quickly from setbacks and feel that you are in control of your life?
3. Are your basic life needs met, in relation to personal health, finance, safety, freedom of choice and sense of community?
4. Can you call on the support of people close to you, immerse yourself in what you are doing, meet your expectations and engage in activities that give you a sense of purpose?
See below to work out your score
Working out the answer
The questions should be answered on a scale of one to ten, where one is "not at all" and ten is "to a large extent"
Add the scores for question one and two together to find your P value.
The score for question 3 is the value for E, and question 4 for H
Mr Cohen said the British were expert at making themselves unhappy by focusing on negative things.
Rating
Each person who completes the questions ends up with a rating out of 100. The higher the score, the more happy they are.
"Most people probably don't know what happiness is, they think happiness is perhaps having lots of money or a big car, or a big house.
"But people who have all these things are not necessarily happier than people who just enjoy their life."
"We tend to be very obsessed with what is wrong, what is missing and what we have not got, rather than focusing on what we want and getting it.
"It would be nice to just enjoy your life, because life is a bit short."
The researchers found that different factors were important for the different sexes.
Pete Cohen came up with the equation
Four in ten men said sex made them happy, and three in ten said a victory by a favourite sports team.
For seven in ten women happiness was related to being with family, and one in four said losing weight.
Romance featured higher for men than women. So did a pay rise and a hobby they enjoyed.
Women were more likely to cite sunny weather.
Ingrid Collins, a consultant psychologist at the London Medical Centre, told BBC News Online: "I would be very surprised if people sat down and had to work out whether they were happy or not.
"We can all be happy in a heartbeat if we make the decision to be so."
วันอังคารที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2552
The happiness virus
It’s too good an idea to resist: Happiness is contagious. A new study published online Dec. 4 in the British Medical Journal shows it.
Maybe you’d be more inclined to resist these ideas, though: Headaches are contagious. Acne is contagious. Height is contagious.
According to another study published the same day in the same journal, by Ethan Cohen-Cole of the Federal Reserve Bank of Boston and Jason Fletcher of Yale University, these latter claims are nearly as likely as the first. The researchers “proved” them using the same methodology.
Sure, say Cohen-Cole and Fletcher, happy people tend to have happy friends. But that may not mean that happy friends make you happier, any more than tall friends make you taller, your friends’ headaches hurt your head, or the pimples on your friend’s face infect you. Instead, happy people might choose happy friends in the first place. Or an outside event, say a shooting in the neighborhood, could make a whole group of friends unhappy at once.
The emergence of social network theory has allowed scientists to begin studying much more deeply how our friends and colleagues affect our health, and it is becoming clear that social effects are big and important. But the field is so new that researchers are still disputing which methods are necessary to preclude detecting influences that aren’t really there.
Cohen-Cole and Fletcher say that the happiness researchers, James Fowler of the University of California, San Diego and Nicholas Christakis of Harvard University, didn’t do enough to control for factors like similarity of friends or common environmental influences. As evidence, they cite their own study, in which the apparent social impacts of headaches, acne and height went away once they controlled for environmental factors.
For their part, Fowler and Christakis acknowledge in their paper that there are plenty of reasons why happy people might tend to have happy friends. But they defend their methods, saying the only explanation that explains their data is that happiness is contagious.
Fowler and Christakis made clever use of data that were likely never intended for use studying social networks: the Framingham Heart Study. A project of the National Heart, Lung and Blood Institute and Boston University, the study collected health data on several thousand people from a small city in Massachusetts over decades.
The study also asked people how often in the last week they experienced feelings such as, “I enjoyed life” or “I felt that I was just as good as other people.” Participants gave the name and contact information for one friend, just to make it easier to track them down for the next survey a few years later. Christakis and Fowler constructed a network of people’s social interactions using this data together with information about where people lived and worked and who their spouses were.
The researchers wanted to understand not just how one person’s mood affects another person’s, but how an entire web of interactions contribute to or detract from happiness. A quick glance at a drawing of the network revealed what the team was looking for: Clumps of happy people. People at the centers of clumps were particularly likely to be happy. And it wasn’t just people’s friends that made them happy — it was also their friends’ friends’ friends.
But Fowler and Christakis realized those effects might only indicate that people like to hang out with folks who are about as happy as they are. So they also looked at changes in happiness levels, computing how likely it is that when your friends get happier, you do too.
A single friend’s increased happiness, they found, increased by 9 percent the chance that you would get happier, a statistically significant amount, Fowler and Christakis report. A happier spouse, nearby siblings or neighbor are even more likely put a smile on your face. Best of all, oddly enough, is a happier next-door neighbor. Happier coworkers, on the other hand, probably wouldn’t do much for you.
That still left the questions of whether common environmental effects could be causing the simultaneous changes in happiness levels. A new neighborhood park, for example, could make lots of people happy at the same time, even if happiness isn’t contagious.
To rule that out, the researchers looked at pairs of friends who both participated in the study, say, for example, Charles and John. They found that if Charles listed John as his friend but John didn’t name Charles, then Charles tended to be more influenced by John’s happiness than the other way around. That difference, they argue, couldn’t possibly be explained by environment, since Charles spends the same amount of time with John as John does with Charles.
But those checks aren’t enough to reassure everyone. Cohen-Cole and Fletcher say that it’s remarkably easy to see social influences where they don’t exist, as evidenced by their own study. “We took their same method and applied it to silly things that can’t possibly be contagious,” Cohen-Cole says, “and we found similar effects.” So, Cohen-Cole and Fletcher concluded, the methodology must be flawed.
Cohen-Cole and Fletcher used the data from the National Longitudinal Study of Adolescent Health, which followed several thousand adolescents over a decade. They found that if a person’s acne got worse, their friend had a 46 percent greater chance of worsened acne, and if a person’s headaches got worse, their friend had a 35 percent greater chance of worsened headaches. (Large as both those effects were, Cohen-Cole and Fletcher determined that they were not quite statistically significant.) And for every inch a person grew, their friend grew an extra 0.2 inch (which was statistically significant).
Then they applied a stronger method of controlling for environmental influences than Fowler and Christakis had used, and found that the apparent effect went away. They argue that these more conservative methods need to be used all the time.
Fowler and Christakis say that the idea that acne, headaches and height could be transmissible might not be so absurd. Friends might learn remedies from one another, or share dietary habits that would affect their acne or headaches. They also point out that all these properties were self-reported, and a short person with tall friends might be more inclined to exaggerate their height.
Despite these lingering questions, Ana Diez-Roux of the University of Michigan School of Health says that Fowler and Christakis’ work is groundbreaking. “I’m not ready to say that it’s totally convincing that the effects they’re seeing are pure contagion,” she says, partly because of the concerns that Cohen-Cole and Fletcher have raised. “But they’ve done lots of interesting things to try to support their case.” With time, she says, the community will develop better techniques to resolve the uncertainties.
Maybe you’d be more inclined to resist these ideas, though: Headaches are contagious. Acne is contagious. Height is contagious.
According to another study published the same day in the same journal, by Ethan Cohen-Cole of the Federal Reserve Bank of Boston and Jason Fletcher of Yale University, these latter claims are nearly as likely as the first. The researchers “proved” them using the same methodology.
Sure, say Cohen-Cole and Fletcher, happy people tend to have happy friends. But that may not mean that happy friends make you happier, any more than tall friends make you taller, your friends’ headaches hurt your head, or the pimples on your friend’s face infect you. Instead, happy people might choose happy friends in the first place. Or an outside event, say a shooting in the neighborhood, could make a whole group of friends unhappy at once.
The emergence of social network theory has allowed scientists to begin studying much more deeply how our friends and colleagues affect our health, and it is becoming clear that social effects are big and important. But the field is so new that researchers are still disputing which methods are necessary to preclude detecting influences that aren’t really there.
Cohen-Cole and Fletcher say that the happiness researchers, James Fowler of the University of California, San Diego and Nicholas Christakis of Harvard University, didn’t do enough to control for factors like similarity of friends or common environmental influences. As evidence, they cite their own study, in which the apparent social impacts of headaches, acne and height went away once they controlled for environmental factors.
For their part, Fowler and Christakis acknowledge in their paper that there are plenty of reasons why happy people might tend to have happy friends. But they defend their methods, saying the only explanation that explains their data is that happiness is contagious.
Fowler and Christakis made clever use of data that were likely never intended for use studying social networks: the Framingham Heart Study. A project of the National Heart, Lung and Blood Institute and Boston University, the study collected health data on several thousand people from a small city in Massachusetts over decades.
The study also asked people how often in the last week they experienced feelings such as, “I enjoyed life” or “I felt that I was just as good as other people.” Participants gave the name and contact information for one friend, just to make it easier to track them down for the next survey a few years later. Christakis and Fowler constructed a network of people’s social interactions using this data together with information about where people lived and worked and who their spouses were.
The researchers wanted to understand not just how one person’s mood affects another person’s, but how an entire web of interactions contribute to or detract from happiness. A quick glance at a drawing of the network revealed what the team was looking for: Clumps of happy people. People at the centers of clumps were particularly likely to be happy. And it wasn’t just people’s friends that made them happy — it was also their friends’ friends’ friends.
But Fowler and Christakis realized those effects might only indicate that people like to hang out with folks who are about as happy as they are. So they also looked at changes in happiness levels, computing how likely it is that when your friends get happier, you do too.
A single friend’s increased happiness, they found, increased by 9 percent the chance that you would get happier, a statistically significant amount, Fowler and Christakis report. A happier spouse, nearby siblings or neighbor are even more likely put a smile on your face. Best of all, oddly enough, is a happier next-door neighbor. Happier coworkers, on the other hand, probably wouldn’t do much for you.
That still left the questions of whether common environmental effects could be causing the simultaneous changes in happiness levels. A new neighborhood park, for example, could make lots of people happy at the same time, even if happiness isn’t contagious.
To rule that out, the researchers looked at pairs of friends who both participated in the study, say, for example, Charles and John. They found that if Charles listed John as his friend but John didn’t name Charles, then Charles tended to be more influenced by John’s happiness than the other way around. That difference, they argue, couldn’t possibly be explained by environment, since Charles spends the same amount of time with John as John does with Charles.
But those checks aren’t enough to reassure everyone. Cohen-Cole and Fletcher say that it’s remarkably easy to see social influences where they don’t exist, as evidenced by their own study. “We took their same method and applied it to silly things that can’t possibly be contagious,” Cohen-Cole says, “and we found similar effects.” So, Cohen-Cole and Fletcher concluded, the methodology must be flawed.
Cohen-Cole and Fletcher used the data from the National Longitudinal Study of Adolescent Health, which followed several thousand adolescents over a decade. They found that if a person’s acne got worse, their friend had a 46 percent greater chance of worsened acne, and if a person’s headaches got worse, their friend had a 35 percent greater chance of worsened headaches. (Large as both those effects were, Cohen-Cole and Fletcher determined that they were not quite statistically significant.) And for every inch a person grew, their friend grew an extra 0.2 inch (which was statistically significant).
Then they applied a stronger method of controlling for environmental influences than Fowler and Christakis had used, and found that the apparent effect went away. They argue that these more conservative methods need to be used all the time.
Fowler and Christakis say that the idea that acne, headaches and height could be transmissible might not be so absurd. Friends might learn remedies from one another, or share dietary habits that would affect their acne or headaches. They also point out that all these properties were self-reported, and a short person with tall friends might be more inclined to exaggerate their height.
Despite these lingering questions, Ana Diez-Roux of the University of Michigan School of Health says that Fowler and Christakis’ work is groundbreaking. “I’m not ready to say that it’s totally convincing that the effects they’re seeing are pure contagion,” she says, partly because of the concerns that Cohen-Cole and Fletcher have raised. “But they’ve done lots of interesting things to try to support their case.” With time, she says, the community will develop better techniques to resolve the uncertainties.
กฎการปฏิบัติของอาจารย์เซน
อาจารย์เซน โซเยน ชะคุ สอนกฎที่ท่านปฏิบัติทุกวันตลอดชีวิตของท่าน ยกตัวอย่างเช่น
- กินแต่พอ ไม่ต้องถึงจุดที่พึงใจ
- ต้อนรับแขกด้วยท่าทีเช่นเมื่อท่านอยู่คนเดียว เมื่ออยู่คนเดียวก็มีท่าทีเช่นเมื่อรับแขก
- ปฏิบัติตามทุกสิ่งที่พูด
- อย่าเสียใจต่ออดีต
- นอนเช่นว่าเป็นการนอนครั้งสุดท้ายในชีวิต เมื่อตื่นขึ้นมา ก็ลุกจากเตียงทันทีราวกับสลัดรองเท้าคู่เก่าออกไป
มังกรเซน - วินทร์ เลียววาริณ
- กินแต่พอ ไม่ต้องถึงจุดที่พึงใจ
- ต้อนรับแขกด้วยท่าทีเช่นเมื่อท่านอยู่คนเดียว เมื่ออยู่คนเดียวก็มีท่าทีเช่นเมื่อรับแขก
- ปฏิบัติตามทุกสิ่งที่พูด
- อย่าเสียใจต่ออดีต
- นอนเช่นว่าเป็นการนอนครั้งสุดท้ายในชีวิต เมื่อตื่นขึ้นมา ก็ลุกจากเตียงทันทีราวกับสลัดรองเท้าคู่เก่าออกไป
มังกรเซน - วินทร์ เลียววาริณ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)